วันอังคารที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

การส่งดอกไม้วันวาเลนไทน์

            
                                 วันเเห่งความรัก

                มนุษย์ได้ใช้ดอกไม้เป็นสื่อในการแสดงความรักต่อกันมานานแล้ว เราคิดว่าดอกไม้เป็นสิ่งความรักของหนุ่มสาวเท่านั้น แต่แท้จริงแล้วดอกไม้ยังใช้สื่อความรักได้หลายรูปแบบ ทั้งยังไม่จำกัดอายุและเพศอีกด้วย
  • กุหลาบแดง (Red Rose) : จะใช้ในความหมายแทน ประโยคที่ว่า "ฉันรักเธอ"
  • กุหลาบขาว (White Rose) : กุหลาบขาวแทนความหมายแห่งความรักอันบริสุทธิ์
  • กุหลาบชมพู (Pink Rose) : มักถูกใช้แทนความรักแบบโรแมนติก และความเสน่หาต่อกัน
  • กุหลาบเหลือง (Yellow Rose) : สีเหลืองเป็นสีแห่งความสดใส แทนความรักแบบเพื่อน

โดยในการมอบดอกกุหลาบในวันวาเลนไทน์นั้นเชื่อกันว่า จำนวนดอกกุหลาบที่มอบแก่กันนั้น มีความหมายต่อความรักกันอีกด้วย โดยได้แก่
  • 1 ดอก หมายถึง ความรักแบบ รับแรกพบ
  • 2 ดอก หมายถึงการแสดงความยินดี
  • 3 ดอก แทนคำบอกรักว่า ฉันรักเธอ
  • 7 ดอก แทนคำพูดที่ว่า เธอทำให้ฉันหลงเสน่ห์
  • 9 ดอก แทนความหมายที่ว่า ทั้งสองคนจะรักกันตลอดไป
  • 10 ดอก แทนความหมายว่า เธอเป็นคนที่ดีเลิศที่สุด
  • 11 ดอก แทนความหมายว่า การเป็นสิ่งที่มีค่าที่สุดของฉัน
  • 12 ดอก แทนความหมายว่า การขอให้เธอเป็นคู่ฉัน
  • 13 ดอก แทนความหมายว่า ความเป็นเพื่อนแท้เสมอ (ซึ่งอีกนัยหนึ่งคือ การบอกปฏิเสธด้วยความรักอย่างเพื่อน)
  • 15 ดอก แทนความหมายว่า แทนความรู้สึกเสียใจจริง
  • 20 ดอก แทนความหมายว่า ความจริงใจต่อกัน
  • 21 ดอก แทนความหมายว่า ถึงการมอบชีวิตอุทิศให้
  • 36 ดอก แทนความหมายว่า ความทรงจำที่แสนหวานที่ยังมีต่อกัน
  • 40 ดอก แทนความหมายว่า ยืนยันว่าความรักเป็นรักแท้
  • 99 ดอก แทนคำพูดที่ว่า ฉันรักเธอจนวันตาย
  • 100 ดอก แทนคำพูดที่ว่า ฉันอุทิศชีวิตนี้เพื่อเธอ
  • 101 ดอก แทนคำพูดที่ว่า ฉันมีเธอเพียงคนเดียวเท่านั้น
  • 108 ดอก แทนความหมายถึงการขอแต่งงานแบบอ้อมๆ ที่ผู้ให้ไม่กล้าพูด
  • 999 ดอก แทนคำพูดที่ว่า ฉันจะรักเธอจนวินาทีสุดท้าย
  • 1,000 ดอก แทนคำพูดที่ว่า ฉันจะรักเธอจนวันตาย
  • 9,999 ดอก แทนคำพูดที่ว่า ฉันจะรักเธอชั่วนิรันดร

วันจันทร์ที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554


..>>หน่วยที่1<<..                      

               

หลักการทำงานทำงานและการเลือกใช้คอมพิวเตอร์


ระบบการทํางานของคอมพิวเตอร์ การทํางานของคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น
4  ส่วน ดังนี้ 

1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) 


           ทําหน้าที่ในการรับข้อมูลหรือคําสั่งจากภายนอกเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจํา เพื่อเตรียม



ประมวลผลข้อมูลที่ต้องการ  ซึ่งอุปกรณ์ที่ใช้ในการนําข้อมูลที่ใช้กันอยู่ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน


นั้น  มีอยู่หลายประเภทด้วยกันสําหรับอุปกรณ์ที่นิยมใช้ในปัจจุบันมี ดังต่อไปนี้ 

           - Keyboard 
           - Mouse 
           - Disk Drive 
           - Hard Drive 
           - CD-Rom 
           - Magnetic Tape 
           - Card Reader 
           - Scanner 

Mouse                                            Keyboard 


               Joy Sticks                                Track Ball 
              
        Scanner                                                     



2. หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) 

       ทําหน้าที่ในการคํานวณและประมวลผล แบ่งออกเป็น 2 หน่วยย่อย คือ

           - หน่วยควบคุม  ทําหน้าที่ในการดูแล ควบคุมลําดับขั้นตอนของการประมวลผล และการทํา



งานของอุปกรณ์ต่างๆ ภายในหน่วยประมวลผลกลาง  และช่วยประสานงานระหว่างหน่วย


ประมวลผลกลาง กับอุปกรณ์นําเข้าข้อมูล อุปกรณ์ในการแสดงผล และหน่วยความจําสํารอง


           - หน่วยคํานวณและตรรก ทําหน้าที่ในการคํานวณและเปรียบเทียบข้อมูลต่างๆ ที่ส่งมาจาก


หน่วยควบคุม และหน่วยความจํา
                     

3. หน่วยความจํ า (Memory) 

           ทําหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือคําสั่งต่างๆ ที่รับจากภายนอกเข้ามาเก็บไว้ เพื่อประมวลผล


และยังเก็บผลที่ได้จากการประมวลผลไว้เพื่อแสดงผลอีกด้วย ซึ่งแบ่งออกเป็น 


           หน่วยความจํา เป็นหน่วยความจําที่มีอยู่ ในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ทําหน้าที่ในการเก็บคําสั่ง


หรือข้อมูล แบ่งออกเป็น

           - ROM หน่วยความจําแบบถาวร


           - RAM หน่วยความจําแบบชั่วคราว


           - หน่วยความจําสํารอง    เป็นหน่วยความจําที่อยู่นอกเครื่อง มีหน้าที่ช่วยให้หน่วยความ



จําหลักสามารถเก็บ ข้อมูลได้มากขึ้น



4. หน่วยแสดงผล (Output Unit) 

           ทําหน้าที่ในการแสดงผลลัทธ์ที่ได้หลังจากการคํานวณและประมวลผล สําหรับอุปกรณ์ที่ ทํา

หน้าที่ในการแสดงผลข้อมูลที่ได้นั้นมีต่อไปนี้

           - Monitor จอภาพ

           - Printer เครื่องพิมพ.

           - Plotter เครื่องพิมพ์ที่ใช้ปากกาในการเขียนข้อมูลต่างๆ ที่ต้องการลงกระดาษ


การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์ 

1.อธิบายองค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ 

2.บอกคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง3.ใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เหมาะสม

กับงาน         ในอดีตคอมพิวเตอร์ถูกสร้างขึ้นเพื่อช่วยในการคำนวณที่ยุ่งยากซับซ้อน   ส่วนใหญ่จึง

ใช้งานด้านวิทยาศาสตร์ แต่ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ได้ขยายขีดความสามารถมากขึ้น จึงมีการนำ

คอมพิวเตอร์มาใช้งานด้านต่างๆ มากมาย ไม่ว่าจะเป็นการนำไปใช้ในด้านการแพทย์ ธุรกิจ บันเทิง 

การทหาร ซึ่งคอมพิวเตอร์ช่วยให้ทำงานได้อย่างรวดเร็ว และถูกต้องแม่นยำ คอมพิวเตอร์ทุก

ประเภท ล้วนมีการทำงานขั้นพื้นฐานที่เหมือนกัน ซึ่งการเรียนรู้หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ 

จะช่วยให้เราสามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ นอกจากนี้ การเรียนรู้หลักการ

เลือกคอมพิวเตอร์ ก็จะช่วยทำให้สามารถเลือกใช้งานคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม ประหยัด 

และรองรับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีสารสนเทศได้

         การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อนำมาใช้ในระบบงาน ต้องสามารถรองรับการขยายตัวของ



ระบบงานได้ในอนาคตเนื่องจากเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลาและรวดเร็ว


มาก การเลือกเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้งานต้องพิจารณาจากงานในธุรกิจนั้น แนวโน้มของธุรกิจ


ในอนาคต สิ่งที่ควรพิจารณาคือ

  
1. ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) เหมาะกับธุรกิจขนาดเล็กจนถึงขนาดกลาง สามารถ


เชื่อมต่อกันเป็นระบบ เครือข่ายท้องถิ่น LAN (Local Area Network) และเชื่อมต่อกันเป็นระบบ 


WAN (Wide Area Network) โดยผ่านระบบการสื่อสารแบบต่างๆ เช่น ดาวเทียม คลื่นวิทยุ คลื่น


ไมโครเวฟ ฯลฯ และเข้าสู่ระบบอินเตอร์เน็ตซึ่งเป็นเครือข่ายสากลได้ด้วยเป็นคอมพิวเตอร์ขนาด


เล็กที่มี ประสิทธิภาพสูง ราคาไม่แพง

2. มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) เหมาะกับธุรกิจขนาดกลาง มีระบบการเก็บข้อมูลที่ดีกว่



ไมโครคอมพิวเตอร์จึงเหมาะกับข้อมูลที่ไม่เปลี่ยนแปลงบ่อยนัก ราคาเครื่องสูงกว่าไมโคร


คอมพิวเตอร์

 3. เมนเฟรม (Mainframe) และ ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) เหมาะกับธุรกิจขนาดใหญ่



 ทำหน้าที่เป็นคอมพิวเตอร์ศูนย์กลาง มีการประมวลผลข้อมูลที่ซับซ้อน รวดเร็วมาก ประสิทธิภาพ


สูง ราคาแพงต้องใช้สถานที่และสภาพแวดล้อมที่ออกแบบเป็นพิเศษ





วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

เทคโนโลยีสารสนเทศ

ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

โดยพื้นฐานของเทคโนโลยีย่อมมีประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศชาติให้เจริญก้าวหน้าได้ แต่เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับวิถีความเป็นอยู่ของสังคมสมัยใหม่อยู่มาก ลักษณะเด่นที่สำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศมีดังนี้



วันอังคารที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

ประวัติ






ชื่อ           นางสาว ชนิษฐา       นามสกุล  พูลพิพัฒน์  
ชื่อเล่น    โบว์                         เพศ  หญิง        อายุ  16  ปี
เกิด         วันอังคารที่  5  กันยายน  พ.ศ.2538
น้ำหนัก    39                              ส่วนสูง      154
สัญชาติ  ไทย                            ศาสนา      พุทธ
ราศี      กันย์                               กรุ๊ปเลือด  โอ
นิสัย      ร่าเริง    อารมณ์ขัน   ซึมเศร้า
กำลังศึกษา  อยู่ในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4/3
แผนการเรียน  วิทย์-คณิต
โรงเรียน       ถาวรานุกูล            จังหวัด  สมุทรสงคราม
บ้านเลขที่     160  หมู่ 9  ต.บ้านปรก   อ.เมือง    จ.สมุทรสงคราม 75000
E-mail :         im_bowky@hotmail.com
เบอร์โทรศัพท์       086-5385828
เบอร์บ้าน               034-718206
facebook               http://www.facebook.com/miva.sayo 
แนวเพลงที่ชอบ   ป็อปร็อค , อินดี้
อาหารที่ชอบ        ไก่ทอด
ผลไม้ที่ชอบ          มะม่วง   ฝรั่ง
สัตว์เสี้ยงที่ชอบ    สุนัข   แมว  ปลา และกระรอก
งานอดิเรก             เล่นเน็ต   ฟังเพลง   ดูหนัง   กินขนม
สีที่ชอบ                 ชมพู  ดำ ขาว
ของสะสม            Hello  Kitty
คติประจำใจ   อดีตเป็นยังไงไม่สำคัญ  แค่เราทำวันนี้ให้ดีก็พอ

                               



สไลด์โชว์ตัวตนจ้า ^^